รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย รับซื้อ power supply

หากคุณต้องการความสะดวกสบายในการขายสินค้าให้เรา ไม่ว่าจะเป็น รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย , รับซื้อ power supply , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลายมือสอง , รับซื้อ power supply มือสอง , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย PC , รับซื้อ power supply PC , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย Server , รับซื้อ power supply Server , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย Workstation , รับซื้อ power supply Workstation อุปกรณ์ไอที Server และอื่น ๆ เราเป็นร้านรับซื้อ อุปกรร์คอมพิวเตอร์ทุกประเภท โดยทีมที่เชี่ยวชาญ มีการประเมิณราคาตามสภาพสินค้าอย่างยุติธรรม คุณจะได้ราคาดีที่สุด โดยไม่ต้องเสียเวลาหาช่องทางอื่น ในการขายสินค้าของคุณ ทางทีมงานยังมีบริการรับซื้อทุกที่ ทุกที่ ทุกจังหวัดในประเทศไทย

ด้วยทีมงานที่บริการท่าน ไม่ว่าจะเป็นสินค้า ระดับ User เพียงแค่ 1 ตัว เราก็บริการไปรับถึงที่ ตีราคาให้แบบคุณพอใจ เราเป็นทีมที่ทำงานด้านนี้มากว่า 20 ปี ลูกค้ากว่า สองแสนราย เราเชื่อได้ว่า ราคาเราให้ไป แทบไม่ต้องเทียบที่ไหน

…สำหรับลูกค้าองค์กร

เรายังมีการทำเสนอราคา พร้อมมีคู่เทียบให้ หากต้องการด่วนต้องการเร็ว เราเป็นเจ้าที่มี ทีมที่ทำเอกสารเสนอราคาด้านนี้ โดนเฉพาะ ทำให้ท่านได้ราคาที่รวดเร็ว

การติดต่อขายคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ไอทีมีหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นทางไลน์ อีเมล์ หากท่านต้องการขายคอมพิวเตอร์ ขาย notebook ส่งรายละเอียดมาทางไลน์ เราสามารถตอบกลับได้ในทันที

รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย , รับซื้อ power supply , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลายมือสอง , รับซื้อ power supply มือสอง , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย PC , รับซื้อ power supply PC , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย Server , รับซื้อ power supply Server , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย Workstation , รับซื้อ power supply Workstation

Power Supply (พาวเวอร์ซัพพลาย) คืออะไร?

Power Supply หรือพาวเวอร์ซัพพลาย สามารถเรียกแบบเต็ม ๆ ได้ว่า Power Supply Unit (PSU) เป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เปรียบได้กับกล่องสมบัติที่กักเก็บพลังงานไว้ภายใน แล้วส่งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ เพื่อทำงานได้เป็นปกติ

โดยหน้าที่หลักของอุปกรณ์ชิ้นนี้ คือการจ่ายไฟฟ้าซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำคัญ ไปยังชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ โดยจะแปลงกระแสไฟบ้านที่เป็นกระแสสลับ (AC) ขนาด 220 V เป็นกระแสตรง (DC) สำหรับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 3V, 5V หรือ 12V ตามแต่ละชิ้นส่วน

พาวเวอร์ซัพพลายมีความสำคัญกับชิ้นส่วนอื่น ๆ ของคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก เพราะหากใช้ผลิตภัณฑ์คุณภาพดี จะช่วยเสริมประสิทธิภาพการทำงานของคอมพิวเตอร์โดยรวม ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และในทางกลับกันหากใช้แบบที่ไม่มีคุณภาพ ก็อาจส่งผลให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพการทำงานที่น้อยลงไปด้วย

ประเภทของ Power Supply (พาวเวอร์ซัพพลาย)

การจำแนกประเภทพาวเวอร์ซัพพลายคอมพิวเตอร์สามารถทำได้โดยใช้เกณฑ์หลายแบบ หากจำแนกจากแหล่งจ่ายไฟ จะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ AT และ ATX  แต่ถ้าจำแนกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชิ้นนี้ โดยใช้เกณฑ์การถอดและต่อสายเคเบิล สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ FULL-Modular, SEMI-Modular และ NON-Modular โดยแต่ละประเภท มีรายละเอียดดังนี้

1. FULL-Modular

FULL-Modular เป็น Power Supply ที่ไม่มีสายเคเบิลติดอยู่กับตัวเครื่องเลย ทำให้สามารถถอดสายเข้าออกได้ทุกเส้น จึงมีข้อดีคือออกแบบเคสได้เองอย่างอิสระ ตามความต้องการและการใช้งาน ซึ่งเหมาะสำหรับ Modder นักแต่งเคส และหากเป็นผู้ใช้งานที่มีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ในเบื้องต้น จะช่วยให้การจัดเก็บสาย หรืออุปกรณ์ทำได้ง่ายขึ้น

2. SEMI-Modular

SEMI-Modular เป็น Power Supply ที่คล้ายกับประเภทแรก แต่มีช่องสำหรับเสียบสายได้แค่บางประเภท ส่วนสายไฟหลักที่ติดกับเครื่องมีลักษณะคล้ายกับแบบ NON-Modular ซึ่งมีช่องสำหรับเสียบเพิ่มเติม ในกรณีที่ต้องการเพิ่มฟังก์ชันเสริมต่าง ๆ เหมาะสำหรับคนที่ต้องการใช้อุปกรณ์เสริมไม่มาก เพราะสามารถเพิ่มสายเคเบิลได้อีกเล็กน้อยนั่นเอง

3. NON-Modular

NON-Modular เป็น Power Supply ที่มีสายเคเบิลหรือสายสำหรับการต่ออุปกรณ์ ติดตั้งอยู่กับเครื่องโดยตรง ไม่สามารถถอดเข้าออกหรือเปลี่ยนแปลงได้ แม้จะไม่สะดวกสักเท่าไหร่ หากต้องการอัปเกรดหรือติดตั้งอุปกรณ์เสริม แต่มีข้อดีคือราคาพาวเวอร์ซัพพลายประเภทนี้ ถูกกว่าประเภทอื่น ๆ จึงเหมาะมากสำหรับคนที่มีงบประมาณจำกัด

มาตรฐาน 80 Plus ใน Power Supply คืออะไร?

ตามหลักวิศวกรรมแล้ว การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสตรง ไม่มีทางได้ครบทั้ง 100% อย่างแน่นอน ดังนั้นมาตรฐาน 80 PLUS หรือ 80+ จึงเป็นเครื่องการันตีสำหรับการบ่งบอกประสิทธิภาพการทำงานของพาวเวอร์ซัพพลายคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงการแปลงกระแสไฟฟ้า จากกระแสสลับเป็นกระแสตรงที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ 80% ขึ้นไป โดยแบ่งระดับมาตรฐานดังกล่าวเป็น 6 ระดับ ดังนี้

1. 80 Plus

มาตรฐาน 80 Plus อยู่ระดับสีขาว เป็น Power Supply ราคาถูกที่สุด จะต้องผ่านการทดสอบไฟฟ้า 115V Internal Nonredundant และ 230V EU Internal Nonredundant โดยการทดสอบ 115V Internal Nonredundant นั้น ไม่ว่าจะโหลดที่ 20% 50% หรือ 100% จะต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 80% จึงผ่านระดับนี้ได้

2. 80 Plus Bronze

มาตรฐาน 80 Plus Bronze เป็น Power Supply ระดับสีทองแดง ซึ่งผ่านการทดลองไฟฟ้าทั้ง 115V Internal Nonredundant, 230V Internal Redundant และ 230V EU Internal Nonredundant

โดยการทดสอบ 230V Internal Redundant ต้องมีผลดังนี้

  • โหลดที่ 20% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 81% 
  • โหลดที่ 50% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 85% 
  • โหลดที่ 100% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 81%

3. 80 Plus Silver

มาตรฐาน 80 Plus Silver เป็น Power Supply ระดับสีเงิน ต้องผ่านการทดลองไฟฟ้าทั้ง 3 รูปแบบ

โดยการทดสอบ 230V Internal Redundant ต้องมีผลดังนี้

  • โหลดที่ 20% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 85% 
  • โหลดที่ 50% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 89% 
  • โหลดที่ 100% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 85%

4. 80 Plus Gold

มาตรฐาน 80 Plus Gold เป็น Power Supply ระดับสีทอง จะผ่านการทดลองไฟฟ้าทั้ง 3 รูปแบบ

โดยการทดสอบ 230V Internal Redundant ต้องมีผลดังนี้

  • โหลดที่ 20% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 88% 
  • โหลดที่ 50% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 92% 
  • โหลดที่ 100% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 88%

5. 80 Plus Platinum

มาตรฐาน 80 Plus Platinum เป็น Power Supply ระดับสีแพลตทินั่ม ต้องผ่านการทดลองไฟฟ้าทั้ง 3 รูปแบบ โดยการทดสอบ 230V Internal Redundant ต้องมีผลดังนี้

  • โหลดที่ 20% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 90% 
  • โหลดที่ 50% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 94% 
  • โหลดที่ 100% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 91%

6. 80 Plus Titanium

มาตรฐาน 80 Plus Titanium เป็น Power Supply ระดับไทเทเนี่ยม นับว่าเป็นตัวท็อปเลยทีเดียว ทำให้มีราคาสูงและผ่านการทดลองไฟฟ้าทั้ง 3 รูปแบบ โดยการทดสอบ 230V Internal Redundant ต้องมีผล 4 ส่วน ดังนี้

  • โหลดที่ 10% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 90%
  • โหลดที่ 20% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 94% 
  • โหลดที่ 50% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 96% 
  • โหลดที่ 100% ต้องได้กระแสไฟฟ้าเกิน 91%

ข้อควรรู้ในการเลือกซื้อ Power Supply

ก่อนการเลือกพาวเวอร์ซัพพลายคอมพิวเตอร์ ควรศึกษาข้อมูล เพื่อนำปัจจัยต่าง ๆ ไปพิจารณา และตัดสินใจซื้ออุปกรณ์ชิ้นนี้ ให้ได้คุณภาพที่ดี มีมาตรฐาน เพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีปัจจัยเบื้องต้น 4 ข้อ ดังนี้

1. แบรนด์ผู้ผลิตที่น่าเชื่อถือ

ในการเลือกพาวเวอร์ซัพพลาย ปัจจัยแรกที่ควรนำมาพิจารณาคือความน่าเชื่อถือของแบรนด์ผู้ผลิต เนื่องจากการซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์จากแบรนด์ที่มีชื่อเสียง นับเป็นการการันตีคุณภาพให้แล้วในระดับหนึ่ง อีกทั้งส่วนใหญ่ยังมีบริการหลังการขายด้วย ทำให้มั่นใจได้ว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้นั้น เป็นอุปกรณ์ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย

โดยแบรนด์พาวเวอร์ซัพพลายที่มีความน่าเชื่อถือและได้รับความนิยม มีด้วยกันหลายแบรนด์ เช่น ANTEC, ASUS, COOLER MASTER, CORSAIR, EVGA, GIGABYTE, LIAN-LI, MONTECH, MSI, NZXT, SILVERSTONE, SUPER FLOWER, THERMALTAKE และ ZALMAN

2. ประเภทของพาวเวอร์ซัพพลาย

นอกจากการพิจารณาเบื้องต้นจากแบรนด์ที่น่าเชื่อถือแล้ว การตัดสินใจซื้อพาวเวอร์ซัพพลายจากประเภทที่เหมาะกับการใช้งาน ก็เป็นอีกหนึ่งข้อสำคัญที่ช่วยให้การซื้อครั้งนั้น ๆ เกิดความคุ้มค่าและนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

หากมีอุปกรณ์เสริมแบบครบเซ็ตควรเลือก FULL-Modular เพื่อให้รองรับการเชื่อมสายเคเบิลได้ ถ้าไม่ต้องใช้อุปกรณ์เสริมใดก็เลือกเป็นแบบ NON-Modular หรือหากที่มีงบประมาณจำกัด ก็เลือกแบบ AT ได้ด้วย แต่ถ้าต้องการลดความเสี่ยงในการเกิดความเสียหายบางส่วนกับอุปกรณ์ ก็เลือกแบบ ATX ที่ออกแบบโดยพัฒนาจาก AT ให้ต่อไปยังเมนบอร์ด เพื่อช่วยให้กระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงอุปกรณ์ก่อนปิดเครื่อง

3. ขนาดความจุ

ในการเลือกซื้อพาวเวอร์ซัพพลายคอมพิวเตอร์จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องคำนึงถึงขนาดความจุของกำลังไฟ ต้องเลือกให้มีกำลังไฟที่เพียงพอสำหรับการจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ทั้งหมด โดยทั่วไปแล้วควรเลือกซื้อพาวเวอร์ซัพพลายที่มีกำลังไฟไม่ต่ำกว่า 400 วัตต์ เพื่อให้สามารถแปลงกระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แต่ถ้าคอมพิวเตอร์ของคุณมีการอัปเกรด หรือมีอุปกรณ์เสริมที่เพิ่มฟังก์ชันการใช้งานเป็นพิเศษ พาวเวอร์ซัพพลายที่กำลังไฟเพียง 400 วัตต์ก็อาจไม่เพียงพอกับอุปกรณ์เสริมเหล่านั้น ดังนั้นก่อนเลือกซื้อ จึงต้องคำนวณปริมาณอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมด้วย และอาจเผื่อการอัปเกรดในอนาคตด้วย เพื่อให้ประเมินขนาดกำลังไฟขั้นต่ำที่เพียงพอกับการใช้งาน

4. การระบายความร้อน

เนื่องจากพาวเวอร์ซัพพลายเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงกระแสไฟ เพื่อส่งไปยังชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องใช้พลังงานเป็นอย่างมาก ทำให้เกิดความร้อนภายในขึ้นด้วย จึงจำเป็นต้องมีพัดลมระบายอากาศ เพื่อช่วยระบายความร้อน และลดอุณหภูมิด้านในเครื่อง เพราะหากอุณหภูมิภายในสูงเกินไป อาจส่งผลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ เสียหายได้

ดังนั้นความสามารถในการระบายความร้อน จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณา ก่อนเลือกซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย เพื่อลดความเสี่ยงในการเสียหายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชิ้นอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในภายหลัง โดยควรเลือกรุ่นที่ออกแบบมาให้ระบายความร้อนได้ดี เช่น ติดตั้งพัดลมระบายอากาศ 2-3 เครื่อง หรือการใช้พัดลมขนาดใหญ่ก็ช่วยได้เช่นกัน

รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย , รับซื้อ power supply , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลายมือสอง , รับซื้อ power supply มือสอง , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย PC , รับซื้อ power supply PC , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย Server , รับซื้อ power supply Server , รับซื้อพาวเวอร์ซัพพลาย Workstation , รับซื้อ power supply Workstation

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *