หากคุณต้องการความสะดวกสบายในการขายสินค้าให้เรา ไม่ว่าจะเป็น รับซื้อ Server , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์ , รับซื้อ Server มือสอง , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์มือสอง , รับซื้อ Server เก่า , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์เก่า , รับซื้อ Server มือ2 , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์มือ 2 , รับซื้อ Server ใหม่, รับซื้อเซิร์ฟเวอร์ใหม่ , รับซื้อ Server เลิกใช้งาน , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์เลิกใช้งาน ,อุปกรณ์ไอที Server และอื่น ๆ เราเป็นร้านรับซื้อ อุปกรร์คอมพิวเตอร์ทุกประเภท โดยทีมที่เชี่ยวชาญ มีการประเมิณราคาตามสภาพสินค้าอย่างยุติธรรม คุณจะได้ราคาดีที่สุด โดยไม่ต้องเสียเวลาหาช่องทางอื่น ในการขายสินค้าของคุณ ทางทีมงานยังมีบริการรับซื้อทุกที่ ทุกที่ ทุกจังหวัดในประเทศไทย
ด้วยทีมงานที่บริการท่าน ไม่ว่าจะเป็นสินค้า ระดับ User เพียงแค่ 1 ตัว เราก็บริการไปรับถึงที่ ตีราคาให้แบบคุณพอใจ เราเป็นทีมที่ทำงานด้านนี้มากว่า 20 ปี ลูกค้ากว่า สองแสนราย เราเชื่อได้ว่า ราคาเราให้ไป แทบไม่ต้องเทียบที่ไหน
…สำหรับลูกค้าองค์กร
เรายังมีการทำเสนอราคา พร้อมมีคู่เทียบให้ หากต้องการด่วนต้องการเร็ว เราเป็นเจ้าที่มี ทีมที่ทำเอกสารเสนอราคาด้านนี้ โดนเฉพาะ ทำให้ท่านได้ราคาที่รวดเร็ว
การติดต่อขายคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ไอทีมีหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นทางไลน์ อีเมล์ หากท่านต้องการขายคอมพิวเตอร์ ขาย notebook ส่งรายละเอียดมาทางไลน์ เราสามารถตอบกลับได้ในทันที

รับซื้อ Server , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์ , รับซื้อ Server มือสอง , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์มือสอง , รับซื้อ Server เก่า , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์เก่า , รับซื้อ Server มือ2 , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์มือ 2 , รับซื้อ Server ใหม่, รับซื้อเซิร์ฟเวอร์ใหม่ , รับซื้อ Server เลิกใช้งาน , รับซื้อเซิร์ฟเวอร์เลิกใช้งาน
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแต่ละครั้งต้องมีการเชื่อมต่อไปยังเซิร์ฟเวอร์ (servers) เชื่อว่าหลายคน คงได้ยินคำว่า เซอร์เวอร์, เซิฟเวอร์ กันมาบ้าง แล้วคุณเคยสงสัยกันมั้ยว่า Server คืออะไร? หน้าที่ของเซิร์ฟเวอร์มีอะไรบ้าง? คุณรู้หรือไม่ว่าระบบ server เบื้องต้น กับ ระบบ server เครื่องคอมพิวเตอร์ ในองค์กรเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? server computer กับ web server มีความสัมพันธ์กันอย่างไร? เครื่องเซิร์ฟเวอร์ หรือ เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์นั้นมีกี่ประเภท? การใช้งานของเซิร์ฟเวอร์นั้นใช้งานอย่างไร หากคุณต้องการคำตอบ บทความนี้มีคำตอบสรุปครบให้คุณ
Server (เซิร์ฟเวอร์) คืออะไร
คำถามที่หลายคนคงสงสัยเซิร์ฟเวอร์ คืออะไร หน้าตาเป็นแบบไหน บทความนี้จะมาแจกแจงให้ทราบกัน
เซอร์เวอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหลักในระบบเครือข่าย (network) ทำหน้าที่เป็นตัวคุมคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ที่มาเชื่อมต่อให้เป็นเครือข่ายเดียวกัน และ ยังมีหน้าที่จัดการดูแลคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆอีกด้วย ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องใด ขอใช้อุปกรณ์อะไร
โปรแกรมอะไร ต้องการแฟ้มข้อมูลไหน เพื่อจะได้จัดสรร ส่งต่อไปยังระบบ server ให้เป็นอันเดียวกัน เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งานของข้อมูลนั้นเอง
Server มีกี่ประเภท
เซิฟเวอร์นั้นเป็นอุปกรณ์ที่จับต้องได้ และอุปกรณ์ที่จับต้องไม่ได้ หรือที่เราเรียกกันว่า Software การทำงานของเซิร์ฟเวอร์นั้นขึ้นอยู่กับชนิดและสถานะของมันด้วย ซึ่งก็มีความแตกต่างกันไป ประเภทของเซฟเวอร์ จึงมีดังนี้
1. Physical Servers
คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ทำงานประมวลผล Server Software นั่นเอง ซึ่งในปัจจุบันนี้ เราสามารถแบ่งประเภทของ Physical Server ได้ตามลักษณะ Form Factor ของตัวเครื่อง ซึ่งคือรูปทรงและขนาดของมันนั่นเอง ประกอบด้วย 4 รูปแบบหลัก ดังนี้
- Tower Servers
เซิร์ฟเวอร์แบบฟอร์มทาวเวอร์นั้น มีลักษณะเป็นเครื่องแนวตั้ง วางเดี่ยวๆ แบบ Standalone ซึ่งก็มีรูปทรงเหมือน Desktop Computer ทั่วไปนี่เอง ต่างกันที่ Server ทรงนี้จะมีการระบายอากาศที่ถ่ายเทดีกว่า - Rack Servers
เซิร์ฟเวอร์แบบ Rack นั้น ออกแบบมาเพื่อติดตั้งในตู้ Rack ในห้อง Data Center มักทำหน้าที่จัดการระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในศูนย์ข้อมูล รองรับปริมาณงานจำนวนมาก ใช้พื้นที่ในการติดตั้งน้อยกว่าแบบ Tower ออกแบบมาเป็นรูปทรงแนวนอนมาตรฐาน เพื่อให้เซิร์ฟเวอร์, UPS หรือ Switch จากแบรนด์ที่แตกต่างกัน สามารถวางติดตั้งทับซ้อนกันในตู้ Cabinet ได้ - Blade Servers
เบลดเซิร์ฟเวอร์คือ Device ขนาดกะทัดรัด ที่มีลักษณะเป็นกล่อง Composable ภายในเป็นตัว Blade Server ขนาดเล็กติดตั้งอยู่รวมกันหลายๆ ตัว แต่ละตัวมีระบบระบายอากาศ Cooling System ของตนเอง ทุกตัวมักอุทิศตนทำงานให้ Application อย่างเดียวร่วมกัน - Mainframes
เมื่อช่วงยุค 1990 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์นั้น ถูกคาดการณ์ว่าจะทำหน้าที่เป็น Server ในอนาคต แต่ปัจจุบันกลับไม่ค่อยเป็นที่นิยมเนื่องจากราคาที่สูง และโครงสร้างที่ใหญ่ ต้องลงทุนเยอะ ทำให้รูปแบบเซิร์ฟเวอร์ Tower, Rack และ Blade เป็นที่นิยมมากกว่า
2. Virtual Servers
เซิร์ฟเวอร์นั้น ต้องการองค์ประกอบที่เป็น Software ขั้นต่ำ 2 ส่วน ได้แก่ ระบบประมวลผล (Operating System หรือ OS) และแอพพลิเคชั่น (Application) ตัว OS นั้นจะทำหน้าที่เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับดำเนินการทำงาน Application ต่างๆ โดยช่วยให้เข้าถึงทรัพยากร Hardware พร้อมช่วยรองรับความต้องการต่างๆ ที่แอพพลิเคชั่นต้องการ
3. Server Software
คือ ระบบServer แบบ Virtual เป็นการจำลองระบบขึ้นมา โดยระบบ เซิร์ฟเวอร์นี้ทำหน้าที่เสมือน Physical Server ต้องมีระบบปฏิบัติการและ application server เป็นของตนเองเช่นกัน การสร้าง Virtual Machines นั้น ต้องมีการติดตั้ง Software กลุ่มหนึ่งที่เรียกว่า Hypervisor (หรือ VMware) ลงบท Physical Server ซึ่งเจ้า Hypervisor นี้จะทำหน้าที่ช่วยให้ Physical Server สามารถทำหน้าที่เป็น Host ที่จำลองเครื่องเซิร์ฟเวอร์เสมือนจริงขึ้นมาอีกตัว